วันอาทิตย์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

Storyboad เรื่อง เทคนิคเสริมในการเรียน ฉากที่ 5

ฉากที่ 5 หลังจากนำเสนอข้อมูลแล้ว เป็นการขอบคุณผู้ชมและเสนอรายชื่อผู้สนับสนุน สมาชิกกลุ่ม และทีมงานที่ช่วยเหลือ

Storyboad เรื่อง เทคนิคเสริมในการเรียน ฉากที่ 4

ฉาก 4 เป็นการนำเสนอหัวข้อ และข้อมูลในหัวข้อนั้น ๆ จัดวางเป็นข้อ ๆ

** เรื่องที่เหลือจัดวางตามลำดับ (*โดยตอนนี้หัวข้อยังไม่ถุกจัดลำดับที่แน่นอน)

Storyboad เรื่อง เทคนิคเสริมในการเรียน ฉากที่3

ฉากที่ 3 เป็นการเรื่อมนำเสนอหัวข้อเเรก และข้อมูลทั้งหมด ในหัวข้อนั้น
โดยการจักวางเป็นข้อ ๆ เพื่อให้ง่ายต่อการอ่าน และจำเพื่อนำไปใช้

Storyboad เรื่อง เทคนิคเสริมในการเรียน ฉากที่2

ฉากที่ 2 เป็นการเสนอหัวข้อหลักและหัวข้อย่อยของชิ้นงาน

Storyboad เรื่อง เทคนิคเสริมในการเรียน ฉากที่ 1

ฉากที่ 1 เป็นการแนะนำสมาชิกในกลุ่ม (*โดยมีเป็นคลิปและเป็นสไลด์สำหรับรายงานตัว)

และ เสนอชื่อเรื่อง ที่จัดทำชิ้นงาน (*เป็นสไลด์ และวิดีโอ)


"1. นส. สุภรัตน์ พรมเกษา เลขที่2
2. นส.นันนภัทร บัวเย็น เลขที่6
3. นส. จุฑามาศ ไกลถิ่น เลขที่7"

"กลุ่มของเรานำเสนอเรื่อง'เทคนิคเสริมเกี่ยวกับการเรียน' ค่ะ"

วันอังคารที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่






ประวัติคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ก่อตั้งครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2507 พร้อมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะอีกสองคณะ คือคณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ เปิดสอนปีแรกมีอาจารย์ 20 คน อาจารย์พิเศษ 2 คน นักศึกษา 77 คน เจ้าหน้าที่ 3 คน เปิดทำการสอน 282 กระบวนวิชา โดยเปิดสอน 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาภาษาไทย ประวัติศาสตร์ ภาษาปัจจุบันต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส) และภาควิชามนุษยสัมพันธ์ คณบดีของคณะท่านแรกคือ ศาสตราจารย์ ดร . หม่อมหลวงตุ้ย ชุมสาย

ภาควิชาคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1.ภาควิชามนุษยศาสตร์
1.สาขาวิชาจิตวิทยา
2.สาขาวิชาประวัติศาสตร์
3.สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์
4.สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา
5.สาขาวิชาบ้านและชุมชน
6.สาขาวิชาการท่องเที่ยว
7.กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป
2.ภาควิชาภาษาตะวันตก
1.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
2.สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
3.สาขาวิชาภาษาเยอรมัน
4.สาขาวิชาภาษาสเปน
3.ภาควิชาภาษาตะวันออก
1.สาขาวิชาภาษาไทย
2.สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
3.สาขาวิชาภาษาจีน
4.สาขาวิชาภาษาพม่า
5.สาขาวิชาภาษาบาลี-สันสกฤต-ฮินดี
[แก้] วิชาเอก
คณะมนุษศาสตร์เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อแบ่งตามสาขาวิชาเอก โดยแบ่งเป็น 15 สาขาวิชา ได้แก่

1.จิตวิทยา
2.ประวัติศาสตร์
3.บรรณารักษศาสตร์
4.ปรัชญาและศาสนา
5.บ้านและชุมชน
6.การท่องเที่ยวและการโรงแรม
7.ภาษาอังกฤษ
8.ภาษาฝรั่งเศส
9.ภาษาเยอรมัน
10.ภาษาสเปน
11.ภาษาไทย
12.ภาษาญี่ปุ่น
13.ภาษาจีน
14.ภาษาพม่า
15.ภาษาบาลี-สันสกฤต-ฮินดี



และอีก 1 กลุ่มวิชา คือ

1.กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป

วันอังคารที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

ประเดิมบทความแรกของบล็อค"ประวัติพี่เก้า จิรายุ"


เก้า จิรายุ หรือชื่อเต็มว่า เก้า จิรายุ ละอองมณี เป็นดาราเด็กที่หลาย ๆ คนคงคุ้นหน้าคุ้นตากันดี เพราะน้อง เก้า จิรายุ แตะเท้าเข้าวงการบันเทิงมาตั้งแต่อายุ 7 ขวบ เคยผ่านงานแสดงทางจอแก้วมาแล้วหลายเรื่อง อาทิ ละครเรื่อง ผีขี้เหงา, เทวดาเดินดิน, แม่เลี้ยงคนใหม่, บ้านสีขาวกับดาวดวงเดิม, เทพสามฤดู ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผลงานทางจอเงินอีกหลายเรื่องเช่นกัน ได้แก่ BitterSweet BoydPod The Short Film, รักแห่งสยาม และพระนเรศวรมหาราช

ปัจจุบัน เก้า จิรายุ อายุอานามกำลังย่างเข้า 14 ปีบริบูรณ์ เรียกได้ว่าวัยกำลังแตกเนื้อหนุ่ม เลื่อนขั้นจากดาราเด็กในวันวาน กลายมาเป็นขวัญใจแม่ยก เอ้ย..ขวัญใจวัยรุ่นไปเรียบร้อยแล้ว(หุหุ) ทั้งนี้ น้อง เก้า จิรายุ เกิดเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2538 ที่จังหวัดระยอง ตอนนี้กำลังเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอมาตยกุล ซึ่งน้อง เก้า จิรายุ บอกว่า แม้งานจะชุก แต่ก็ยังยกให้เรื่องเรียนมาที่หนึ่งเสมอ